กระดานสนทนาทั้งหมด
   
 สภาพทั่วไป
 ตราสัญลักษณ์
 สภาพเศรษฐกิจ
 สภาพทางสังคม
 บริการขั้นพื้นฐาน
 ข้อมูลการติดต่อ
 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
 ประเมินคุณธรรมความโปร่งใส ITA ประจำปี 2566
 
 สำนักปลัดเทศบาล
 กองคลัง
 กองช่าง
 กองการศึกษาฯ
 ร้องทุกข์ - ร้องเรียน
 อำนาจหน้าที่
 
 โครงสร้างองค์กร
  คณะผู้บริหาร
  สมาชิกสภาเทศบาล
  หัวหน้าส่วนราชการ
  สำนักปลัด
  กองคลัง
  กองช่าง
  กองการศึกษา
  กองประปา
  กองสาธารณสุข
 
ประกาศ
ข่าวประชาสัมพันธ์
คู่มือประชาชน
ศูนย์ดำรงธรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
สถานที่สำคัญ
ผลิตภัณฑ์ตำบล
มุมอาเซียน
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
ข่าวเด่น
จดหมายข่าว
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
แบบสอบถามความพึงพอใจ
วีดีทัศน์
ภาพกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์ตำบล
สถานที่สำคัญ
หนังสือราชการ สถ.
หนังสือราชการ สถ.จ.
 
 E-mail
 Q & A
 รายงานผลดำเนินงานประจำปี
 คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
 คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
  แผนยุทธศาสตร์
  รายงานการติดตามผลและประเมินผลแผนพัฒนา
  แผนพัฒนาสี่ปี
  แผนการขับเคลื่อนหน่วยงาน
  แผนดำเนินงานประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
  แผนอัตรากำลัง
 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
 เทศบัญญัติ ประจำปี ๒๕๖๒
 แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒
 แผนอัตรากำลัง 3 ปี
 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
 เทศบัญญัติ ประจำปีงบประมาณ 2563
 เทศบัญญัติประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๕
 แนะนำการชำระภาษี
 
  เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
  แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ผลประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
ราคากลางจัดซื้อจัดจ้าง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
 รายงานการเงินเทศบาลตำบลชุมพลบุรี
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  รับฟังความเห็นงานด้านทรัพยากรบุคคล
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการการกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตรอบ 6 เดือน
  ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีงบประมาณ 2564
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
พ.ร.บ./พ.ร.ก.
กฎกระทรวง/ระเบียบฯ
ระเบียบกฏหมายอื่นๆ
 การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
มาตรฐานการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
 E - Service
 
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านต้องการให้เทศบาล พัฒนาในส่วนใดมากที่สุด
ไฟฟ้า
ถนน
น้ำประปา
บริการประชาชน
แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
การศึกษา
 
 
 
 
 
สภาพทั่วไป
______________________________________________________________________________________________
สภาพทั่วไป
 

ที่ตั้งของเทศบาลตำบลชุมพลบุรี

ลักษณะที่ตั้ง

เทศบาลตำบลชุมพลบุรี ได้เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลชุมพลบุรีเป็นเทศบาลตำบลชุมพลบุรี ตั้งแต่วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ตามพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งแต่เดิมสุขาภิบาลชุมพลบุรีจัดตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวงมาดไทย เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๙๙ มีพื้นที่ประมาณ ๑.๕ ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีหมู่บ้านในเขตเทศบาลจำนวน หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑, ๑๕ และ ๑๘ตำบลชุมพลบุรี อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ สถานที่ตั้งของเทศบาลตำบลชุมพลบุรี ปัจจุบันมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ อาคารเลขที่ ๓๓๓ ถนนหลักเมือง อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์

๑.๒ ลักษณะภูมิประเทศ

เทศบาลตำบลชุมพลบุรี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำมูลในเขตของทุ่งกุลาร้องไห้

๑.๓ ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศของเทศบาลตำบลชุมพลบุรี อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จัดอยู่ภายใน เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน (Tropical Savanna Climate : Aw) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเขตภูมิอากาศแบบสวันนา (Savanna Climate)  ซึ่งเป็นลักษณะอากาศที่มีฤดูแล้งสลับฤดูฝนอย่างเด่นชัด จากสถิติภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาในคาบ ๓๐ ปี (พ.ศ.๒๕๑๔ – ๒๕๔๓) ของจังหวัดสุรินทร์ พบว่า ปริมาณฝนรวมเฉลี่ยทั้งปีวัดได้ ๑,๓๕๑.๖ มิลลิเมตร ความชื้นสัมพัทธ์สูงที่สุดเฉลี่ยวัดได้ ๙๖ เปอร์เซ็นต์ ในเดือนกันยายน ความชื้นสัมพัทธ์ ต่ำที่สุดเฉลี่ยวัดได้ ๓๙ เปอร์เซ็นต์ ในเดือนมีนาคมโดยรวมแล้วจังหวัดสุรินทร์มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี ๗๓ เปอร์เซ็นต์ ลักษณะอากาศเช่นนี้เกิดขึ้นเนื่องจากจังหวัดสุรินทร์ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จึงสามารถแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น ฤดู ดังนี้

๑.๓.๑ ฤดูฝน (Rain Season)  เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดนำความชื้นจากทะเลอันดามันและอ่าวไทยเข้ามาปกคลุมและมีอิทธิพล ของร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุมพาดผ่าน (International Tropical Convergence Zone : ITCZ or Monsoon Trough) ทำให้เริ่มมีฝนตกชุกตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปจนถึงกลางเดือนมิถุนายน หลังจากนั้นไปจนถึงกลางเดือนกรกฎาคมฝนจะลดน้อยลงมากบางวันอาจไม่มีฝนตกเลย เรียกระยะนี้ว่า ระยะฝนทิ้งช่วง (Dry Spell)  เนื่องจากร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุมได้เคลื่อนตัวขึ้นไปพาดผ่านตอนบน ของประเทศลาว เวียดนาม และประเทศจีนตอนใต้ สำหรับในช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายนฝนจะกลับมาตกชุกอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุมได้เคลื่อนตัวลงมาพาดผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ

ประเทศไทย ในฤดูนี้มักมีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวจากทะเลจีนใต้เข้ามามีอิทธิพลต่อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เฉลี่ยปีละ ๑ – ๓ ลูก จากสถิติภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาในคาบ ๓๐ ปี (พ.ศ.๒๕๑๔ – ๒๕๔๓) ของจังหวัดสุรินทร์ พบว่า ฝนตกชุกมากที่สุดคือเดือนกันยายน วัดปริมาณฝนรวมเฉลี่ยได้ ๒๕๙.๒ มิลลิเมตร รองลงมาคือเดือนสิงหาคม วัดปริมาณฝนรวมเฉลี่ยได้ ๒๒๔.๖ มิลลิเมตร ปริมาณฝนรวมเฉลี่ยทั้งปีวัดได้ ๑,๓๕๑.๖ มิลลิเมตร

๑.๓.๒ ฤดูหนาว (Winter Season)  เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในฤดูนี้จังหวัดสุรินทร์ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นลมที่พัดออกจากความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีน มีลักษณะอากาศเย็นและแห้ง ความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจะแผ่ปกคลุมตลอดฤดู อุณหภูมิจะลดต่ำลงทำให้มีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปขึ้นอยู่กับกำลังและขนาดของมวลอากาศเย็นนั้น จากสถิติภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาในคาบ ๓๐ ปี (พ.ศ.๒๕๑๔ – ๒๕๔๓) ของจังหวัดสุรินทร์ พบว่า อากาศหนาวเย็นที่สุดอยู่ในช่วงเดือนธันวาคมถึงมกราคม วัดอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยได้ ๑๗.๗ องศาเซลเซียสและ ๑๗.๗ องศาเซลเซียสตามลำดับ อุณหภูมิต่ำที่สุดที่เคยวัดได้เท่ากับ ๘.๒ องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคม ในฤดูนี้มักประสบปัญหาภัยแล้งเนื่องจากมีฝนลดน้อยลงอย่างมากส่วนใหญ่ไม่มีฝนตกเลย อนึ่ง ในฤดูนี้อาจมี คลื่นกระแสลมตะวันตกเคลื่อนตัวมาจากประเทศพม่าผ่านภาคเหนือของประเทศไทยเข้ามามีอิทธิพลต่อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ ซึ่งอาจทำให้มันฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นได้แต่ปริมาณฝนจะไม่มากนัก

๑.๓.๓ ฤดูร้อน (Summer Season)  เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ลมที่พัดปกคลุมในฤดูนี้ส่วนใหญ่เป็นลมใต้และลมตะวันตก และมักจะมีหย่อมความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อน (Heat Low) ปกคลุมตลอดฤดู ทำให้มีอากาศร้อนโดยทั่วไปบางวันมีอากาศร้อนจัด สามารถวัดอุณหภูมิได้สูงถึง ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป จากสถิติภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาในคาบ ๓๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๔๓) ของจังหวัดสุรินทร์ พบว่า เดือนเมษายนและพฤษภาคมเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนมากที่สุด อุณหภูมิสูงที่สุด ที่เคยวัดได้ ๔๑.๖ องศาเซลเซียส ในฤดูนี้จะมีบางช่วงที่มีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนแผ่ลงมาจะเกิดการ ปะทะกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมอยู่ก่อนแล้ว ทำให้เกิดพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง บางครั้งมีลูกเห็บตก เกิดขึ้นด้วย เราเรียกพายุชนิดนี้ว่า พายุฤดูร้อน (Summer Storm)  ฝนที่ตกลงมาในฤดูนี้ยังมีปริมาณน้อย มักไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก

๑.๔ ลักษณะของดิน

ลักษณะของดินของเทศบาลตำบลชุมพลบุรีเป็นดินร่วนปนทราย ฉะนั้นดินในเทศบาลตำบล ชุมพลบุรีจึงอุ้มน้ำได้น้อย

๑.๕ ลักษณะของแหล่งน้ำ

เทศบาลตำบลชุมพลบุรี มีแหล่งน้ำที่สำคัญ คือ แม่น้ำมูลไหลผ่านเขตตำบลชุมพลบุรีไหลลงสู่แม่น้ำโขงที่จังหวัดอุบลราชธานี เป็นแหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร การเพาะปลูก การคมนาคม นอกจากนั้นยังอุดมสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์น้ำต่างๆ เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของราษฎร หากไม่ได้รับผลกระทบ จากภาวะภัยแล้งจะมีน้ำตลอดทั้งปี

๒. ด้านการเมือง/การปกครอง

๒.๑ เขตการปกครอง

เนื้อที่ในเขตเทศบาลตำบลชุมพลบุรี มีเนื้อที่การปกครองประมาณ ๑.๕ ตารางกิโลเมตร โดยมีหมู่บ้านจำนวน หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๑, ๑๕ และ ๑๘ (บางส่วน) ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากศูนย์กลางจังหวัดสุรินทร์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ โดยทางรถยนต์ระยะทางประมาณ ๙๒ กิโลเมตร แยกการปกครองออกเป็น ชุมชน ดังนี้

๑. ชุมชนเมืองใหม่

๒. ชุมชนคุ้มกลาง

๓. ชุมชนประปา

๔. ชุมชนหลักเมือง

๕. ชุมชนเหนือ

๖. ชุมชนวัดกลาง

อาณาเขตตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๙๙

ด้านทิศเหนือ จากหลักเขตที่ ซึ่งตั้งอยู่ฝากตะวันตกของถนนชุมพลบุรี–ท่าตูม ตรงที่อยู่

ห่างจากฟากเหนือของทางหลวงสายชุมพลบุรี – ท่าตูม ไปทางทิศเหนือ ถนนสาย ๒๐๘๑

จากหลักเขตที่ เป็นเส้นขนานกับทางหลวงสายชุมพลบุรี–ท่าตูม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดฝั่งตะวันตกของกุดคณฑี ซึ่งเป็นหลักเขตที่

ด้านทิศตะวันออกและด้านทิศใต้ จากหลักเขตที่ เลียบตามฝั่งตะวันตกและฝั่งเหนือของ กุดคณฑี ไปทางทิศใต้ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ถึงจุดซึ่งอยู่ห่างจากปากหนองกระทุ่ม ฝั่งตะวันตกตรงที่บรรจบกับกุดคณฑีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ๑๕๐ เมตร ซึ่งเป็นหลักเขตที่

ด้านทิศตะวันตก จากหลักเขตที่ เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จนบรรจบกับ หลักเขตที่

๒.๒ ด้านการเมือง

๑. ฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเทศบาล ประกอบด้วยสมาชิกที่ราษฎรเลือกตั้ง จำนวน ๑๒ คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ ปี

๒. ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วยนายกเทศมนตรีที่ราษฎรเลือกตั้ง จำนวน คน และนายกเทศมนตรีแต่งตั้งรองนายก คน ที่ปรึกษานายก คน และเลขานุการนายก คน รวม คน มีอำนาจหน้าที่ควบคุมรับผิดชอบในการบริหารกิจการของเทศบาลตามกฎหมาย โดยมีนายกเทศมนตรีเป็นหัวหน้า

๓. ประชากร

๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร

เทศบาลตำบลชุมพลบุรี จำนวนประชากรทั้งหมด ๒,๔๑๙ คน

- ชาย ๑,๑๖๙ คน

- หญิง ๑,๒๕๐ คน

ข้อมูล วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙

๓.๒ ช่วงอายุและจำนวนประชากร

ข้อมูล วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙

หญิง

ชาย

หมายเหตุ

จำนวนประชากรเยาวชน

๒๘๒ คน

๒๖๐ คน

อายุต่ำกว่า ๑๘ ปี

จำนวนประชากร

๗๓๕ คน

๗๖๖ คน

อายุ ๑๘ – ๖๐ ปี

จำนวนประชากรผู้สูงอายุ

๒๓๓ คน

๑๔๓ คน

อายุมากกว่า ๖๐ ปี

รวม

๑,๒๕๐ คน

๑,๑๖๙ คน

ทั้งสิ้น ๒,๒,๔๑๙ คน

 
 
 
 
 
( โทร. 0-4459-6410 , 0-63629-5914 ) chumphonburi64@gmail.com
การแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์จะสมบูรณ์ที่สุดในระบบ Google Chrome, Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer 8 ขึ้นไป
สงวนลิขสิทธิ์ © โดย
MediaCreativeCenter 08-7776-6615
หน้าแรก  I  สถานที่สำคัญ  I  ผลิตภัณฑ์ตำบล  I  กระดานสนทนา  I  แผนผังเว็บไซต์  I  ติดต่อเทศบาล